วันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554

Containerization


Containerization

 Bulk cargo   สินค้าเทกอง คือสินค้าที่ขนส่งคราวละมากๆ โดยไม่มีภาชนะบรรจุสินค้า ใช้วิธีขนส่งโดยเทสินค้าลงในระวางเรือใหญ่ เช่น ปุ๋ย มันสำปะหลัง น้ำตาล ถ่านหิน

Charter กฎบัตร คือ ตราสารที่จัดตั้ง จัดระเบียบ และกำหนดอำนาจหน้าที่ขององค์การ

Broken stowage คือ พื้นที่ๆสูญเสียไปจากการจัดเรียง o Lashing –การที่นำเชือกมายึดCargo ไว้เพื่อไม่ให้สินค้าหล่น เป็นการ Secure สินค้า.

Ship broker คือ ผู้แทนของบริษัทเดินเรือนายหน้าซื้อขายเรือผู้ทำการประกันภัยทางทะเล

Belly cargo คือ การขนส่งทางช่อง
Back Freight คือ การส่งคืนสินค้ากลับต้นทาง

Ship’s master คือ ต้นแบบของเรือ

Partial shipment (การส่งสินค้าเป็นบางส่วน) คือ การที่ผู้ขายสามารถจะเลือกทยอยส่งสินค้าให้ผู้ซื้อได้หลายเที่ยวจนกว่าจะหมดหรือจะส่งทั้งหมดก็ย่อมได้

Cargo carrier คือ ผู้ให้บริการขนส่งสินค้า

Dangerous goods   สินค้าอันตราย หมายถึง วัตถุหรือสิ่งของที่โดยคุณสมบัติของมันเองก่อให้เกิดอันตราย ต่อสุขภาพของมนุษย์ ความปลอดภัย หรือทรัพย์สินได้ การขนส่งทางอากาศกระทำได้โดยจำกัด ปริมาณการบรรจุตามวิธีการบรรจุที่ระบุไว้ในระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการขนส่ง สินค้าอันตราย ซึ่งการจัดประเภทของสินค้าอันตรายถูกกำหนดจากลักษณะของความอันตรายของสาร นั้น        

Demurrage การจอดเรือเกินกำหนด เก็บค่าจอดเกินเวลา

Less than container load(LCL)ตู้สินค้าที่ทำการบรรจุหรือ เปิดใน เขตท่าเรือ หมายถึงตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าที่มีผู้ส่งและ/หรือผู้รับหลายรายในตู้สินค้าเดียวกันซึ่งแต่ละรายจะมีสินค้าอยู่มากน้อยเท่าใดก็ได้ แต่สินค้าทั้งหมดจะถูกนำไปยังจุดหมายปลายทางเดียวกัน ความรับผิดชอบในการ บรรจุสินค้าในตู้สินค้าและ/ หรือนำสินค้าออกจากตู้สินค้าในลักษณะนี้จะอยู่กับผู้รับการขนส่งซึ่งส่วนใหญ่
แล้วจะเป็นบริษัทเรือ บางครั้งในวงการเรือเรียกตู้สินค้าชนิดนี้ว่าเป็นตู้ CFS เพราะต้องมีการนำสินค้ามาผ่านโกดังจัดแยกชนิดสินค้าก่อนที่จะทำการบรรจุ ใส่ตู้สินค้าหรือ ส่งไปยังจุดหมายปลายทาง

Full container load(FCL)ตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าเจ้าของเดียว หมายถึงตู้สินค้าที่บรรจุสินค้าที่มีผู้ส่งและ/หรือผู้รับเป็นเจ้าของรายเดียว อยู่ในตู้สินค้าเดียวกัน ส่วนมากความรับผิดชอบในการบรรจุสินค้าในตู้สินค้า และ/หรือนำสินค้าออกจากตู้สินค้าจะอยู่กับผู้ส่ง
และ/หรือผู้รับนั้นๆ  บางครั้งในวงการเรือเรียกตู้สินค้าชนิดนี้ว่าเป็นตู้ CY เพราะสามารถรับและ/หรือส่งตู้ชนิดนี้ได้โดยไม่ต้องผ่านโกดัง

Bagged cargo คือ สินค้าบรรจุถุง

Deck cargo คือ สินค้าที่บรรทุกบนปากระวาง

ที่มา : http://interrepcomplex.igetweb.com/?mo=3&art=146939   
          http://www.licdsrt.ob.tc/container%20word.html

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น